Top
สารกำจัดศัตรูพืช ยาร้อน ยาเย็น ดูอย่างไร?
เกษตรกรที่ใช้สารกำจัดศัตรูพืชเคยสงสัยไหมว่า
ยาร้อน
ยาเย็น
เป็นอย่างไร? แตกต่างกันตรงไหน? และเลือกใช้อย่างไร?
มาหาคำตอบกัน
 
#ยาร้อน เป็นยาที่เมื่อฉีดพ่นไปแล้วจะมีอัตราความเป็นพิษต่อพืชสูง โดยเฉพาะส่วนที่เปราะบางเช่น ดอก และ ใบอ่อน ยาร้อนเมื่อฉีดพ่นไปแล้วจะทำให้ดอกร่วง ยอดเหี่ยวเฉา หงิกงอ ใบไหม้จนถึงขั้นหลุดร่วง หรือในช่วงระยะวิฤกติของพืช เช่น อยู่ในระยะตั้งท้อง ออกดอก ติดผลอ่อน หรือ ช่วงขาดน้ำ ก็จะเป็นพิษต่อพืชเช่นกัน
โดย #ยาร้อน จะมีการเติมสารอิมัลซิไฟเออร์ที่มีสูตรโครงสร้างคล้ายน้ำมันเบนซีน เพื่อให้สารเคมีที่ไม่ละลายน้ำสามารถละลายเข้ากันได้ ซึ่งสารเคมีในกลุ่มนี้จะมีตัวย่อของสูตรจะมีตัว E และ O เช่น EC, EW, ME, OD
 
สูตรยาร้อน
#EC : Emulsifiable Concentrate สูตรชนิดน้ำมันเข้มข้น เป็นของเหลวที่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อทำการเจือจางด้วยน้ำก่อนนำไปใช้ จะได้สารอิมัลชั่นมีลักษณะสีขาวขุ่น สามารถใช้กับถังสเปรย์ หรือเครื่องพ่นหมอกควันได้ สูตรนี้ส่วนใหญ่จะเป็น #ยาร้อน ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง
--------------------------
#ยาเย็น เป็นยาที่เมื่อฉีดพ่นเข้าไปแล้วอัตราความเป็นพิษต่อพืชต่ำ จะไม่ส่งผลกระทบกับดอก ผล และใบอ่อนพืช ตัวย่อของสูตรนี้ เช่น SC, SL, SG, WP, WG #ยาเย็นฉีดผ่าดอกได้
***ยาเย็นถ้าหากใช้ในอัตราสูงกว่าที่แนะนำ ก็อาจเป็นพิษต่อพืชได้เช่นกัน ดังนั้นเกษตรกรที่เลือกใช้ยาต้องสังเกตฉลากยาว่าเป็นยาสูตรไหน เพราะยาตัวเดียวกันจะมีทั้งสูตรร้อนและสูตรเย็น และควรใช้อัตราตามคำแนะนำบนฉลาก
 
สูตรยาเย็น
#SC : Suspension Concentrate สูตรชนิดของเหลวข้น เป็นสารผสมแขวนลอย #ยาเย็น ต้องทำการเขย่าก่อนการผสมน้ำ
#SL : Soluble Concentrate สูตรละลายน้ำ เป็นสารเคมีรูปแบบของเหลว ละลายเข้ากับน้ำเป็นเนื้อเดียว เป็น #ยาเย็น แต่ถ้าใส่มากเกินไปก็กลายเป็น #ยาร้อน ได้
#SG : Water Soluble Granules สูตรชนิดเม็ดละลายน้ำ เป็นรูปเม็ด ต้องผสมน้ำก่อนใช้ สารออกฤทธิ์ละลายน้ำได้ดี แต่มีบางส่วนของสารไม่ออกฤทธิ์ในสูตรผสมที่ไม่ละลายน้ำ
#WP : Wet table powder สูตรชนิดผงผสมน้ำ เป็นรูปผง เป็น #ยาเย็น เมื่อจะใช้ต้องเจือจางด้วยน้ำ ได้สารละลายในรูปของสารผสมแขวนลอย
#WG : Water Dispersible Granules สูตรชนิดเม็ดผสมน้ำ เป็นรูปเม็ด เป็น #ยาเย็น มีคุณสมบัติและการผลิตเช่นเดียวกับ WP เพียงแต่ทำออกมาเป็นเม็ด
--------------------------
ข้อมูลอ้างอิง : ศูนย์วิทยาบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
https://esc.doae.go.th/
 
 
บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล
โรคพืชที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
โรคพืชในส้มที่ควรระวัง