Top
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล

ฉีดพ่นทางใบ
ธาตุอาหารพืช
ฉีดยังไงให้ได้ผลดี...

วันนี้มิสเตอร์คิว 
ขอนำเสนอทริคเล็ก ๆ น้อย ในการฉีดพ่นสารทางใบ
ที่น่าจะเป็นประโยชน์กับพี่น้องชาวสวนกัน

???? ฉีดทางใบ : เน้นใต้ใบ และ ทั่วทรงพุ่ม
ในช่วงเวลาปกติทั่วไป การฉีดพ่นธาตุอาหาร หรือ สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบดูดซึม จะฉีดทั่วทั้งทรงพุ่ม และเน้นฉีดพ่นที่ใต้ใบ เพราะส่วนใหญ่ปากใบพืชจะอยู่บริเวณใต้ใบ และยังเป็นการป้องกันเพลี้ยหอยได้

???? ฉีดช่วงเช้า : ปากใบเปิด และ ลมไม่แรง
ควรพ่นธาตุอาหารในช่วงเช้าที่แดดอ่อน และ ลมไม่แรง เพราะช่วงเช้าปากใบจะเปิด และมีการคายน้ำออก ทำให้พืชดูดซึมธาตุอาหารเข้าไปได้ดีมากขึ้น ทั้งนี้หากฉีดพ่นช่วงแดดจัด ธาตุอาหารจะระเหยเร็วจากความร้อน หรือ ยาที่ฉีดพ่นอาจะทำให้พืชเสียหายได้

???? ฉีดเปิดตาดอก : เน้นฉีดไล่ใต้ท้องกิ่ง
ในช่วงของการฉีดปรับค่า C/N เรโช หรือฉีดเปิดตาดอกเราต้องมาเน้นฉีดใต้ท้องกิ่งเพื่อให้ธาตุอาหารซึมเข้าโดยตรงให้ออกเป็นดอกไม่เป็นแขนง

???? ฉีดบำรุงดอก-ผล : ฉีดที่ดอก ผล และ ใบ
ช่วงที่ออกดอก และ ผล เน้นทั้งในทรงพุ่มที่เป็นดอก เป็นผล เพราะจะต้องระมัดระวังเรื่องโรคและแมลงเป็นพิเศษ ใบก็ห้ามเสียหายเพราะเราต้องอาศัยใบในการส่งอาหารมาเลี้ยงดูดอกผลรวมถึงลำต้นอีกด้วย

???? ฉีดบำรุงผล : ฉีดที่ขั้วผล รวมไปถึงใบ
ช่วงบำรุงผลจะเน้นที่ขั้วผลเน้นๆ ช่วยในเรื่องการเข้าทำลายของโรค และแมลง และต้องดูแลใบให้ดีเพื่อไม่ให้ต้นโทรมมากหลังตัด

???? ฉีดล้างต้นล้างกิ่ง : เน้นฉีดลำต้น กิ่ง ก้าน ใบ
หลังตัดควรล้างต้น ล้างกิ่งล้างใบ รวมถึงดินใต้โคนรอบทรงพุ่ม เพื่อให้ต้นสะอาดจากเชื้อโรคเชื้อราและแมลง ก่อนเริ่มต้นทำใบใหม่
--------------------------
ข้อมูลอ้างอิง : เพจทุเรียน เรียนไม่จบ

บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
สารกำจัดศัตรูพืช ยาร้อน ยาเย็น ดูอย่างไร?
โรคพืชที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
โรคพืชในส้มที่ควรระวัง