Top
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
ช่วงนี้ปุ๋ยแพงขึ้นทุกวัน วันนี้มิสเตอร์คิว จึงขอนำเสนอเรื่องของปุ๋ยไนโตรเจนว่ามีกี่ชนิด ประโยชน์ของแต่ละชนิด และข้อควรระวังในการนำไปใช้ เพื่อให้เกษตรได้เลือกใช้ปุ๋ยได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
 
ปุ๋ยไนโตรเจน
ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบของ กรดอะมิโน โปรตีน กรดนิวคลีอีก คลอโรฟิลด์ และฮอร์โมนพืช (ออกซิน และไซโตไคนิน)
ปุ๋ยไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารหลักที่จำเป็นสำหรับพืชสำหรับใช้สร้างความเจริญขึ้นในทุกส่วนที่กำลังเติบโต หากขาดไนโตรเจน พืชจะเหลืองซีดโดยเริ่มจากใบล่างขึ้นไปด้านบน การเจริญลดลงจนถึงไม่เติบโต ผลผลิตต่ำ แต่ถ้าพืชได้รับไนโตรเจนมากเกินไป จะเขียวเข้ม อวบอ้วน อ่อนแอ ถูกศัตรูพืชเข้าทำลายได้ง่าย
 
ตัวอย่าง ปุ๋ยไนโตรเจนชนิดต่างๆ มีดังนี้
 
แอมโมเนียมคลอไรด์ 25-0-0 (60% Cl)
ประกอบด้วยธาตุไนโตรเจน (N) 25% และ คลอรีน (Cl) 60% คลอรีนช่วยในการกระบวนการสังเคราะห์แสง และสร้างอาหารในพืช และป้องกันยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคพืช
 
ข้อควรระวัง : ถ้าพืชได้รับปุ๋ยแอมโมเนียมคลอไรด์มากเกินไปจะมีผลไปยับยั้งการเจริญเติบโตของพืชได้
 
 
แคลเซียมไนเตรท 15-0-0 (22% Ca)
ประกอบด้วยธาตุไนโตรเจน (N) 25% และ แคลเซียม (Ca) 22% แคลเซียมช่วยในการแบ่งเซลล์ การผสมเกสร การงอกของเมล็ด และช่วยให้เอนไซม์บางชนิดทำงานได้ดี
 
ข้อควรระวัง : เป็นปุ๋ยละลายง่ายและสูญเสียไปกับการถูกชะล้างได้ง่าย เหมาะกับพืชไร่ ไม่ควรใช้กับดินนาน้ำขัง
 
 
แอมโมเนียมซัลเฟต 21-0-0 (24% S)
ประกอบด้วยธาตุไนโตรเจน (N) 21% และ กำมะถัน (S) 24% กำมะถันช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของส่วนยอด
 
ข้อควรระวัง : ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟตทำให้เกิดกรด หากใช้มากเกินไปจะทำให้ดินเป็นกรด ส่งผลให้การเจริญเติบโตของพืชลดลง
 
 
ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต 18-46-0 , 21-53-0
มี 2 แบบ คือ ปุ๋ยรูปผลึก มีธาตุไนโตรเจน (N) 21% และ ฟอสฟอรัส (P) 53% สำหรับใช้ทางใบ และปุ๋ยชนิดเม็ดมีธาตุไนโตรเจน (N) 18% และ ฟอสฟอรัส 46% สำหรับใช้ทางดิน ฟอสฟอรัสช่วยในการสังเคราะห์โปรตีนและสารอินทรีย์ที่สำคัญในพืช เป็นองค์ประกอบของสารที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดพลังงานในกระบวนการต่างๆ เช่น การสังเคราะห์แสงและการหายใจของพืช
 
 
โมโนแอมโมเนียมฟอสเฟต 1-55-0, 12-61-0
มี 2 แบบ คือ ปุ๋ยรูปผลึก มีธาตุไนโตรเจน (N) 1% และ ฟอสฟอรัส (P) 55% สำหรับใช้ทางใบ และปุ๋ยชนิดเม็ดมีธาตุไนโตรเจน (N) 12% และ ฟอสฟอรัส 61%
 
 
 
โพแทสเซีมไนเตรท 13-0-46
ประกอบด้วยธาตุไนโตรเจน (N) 13% และ โพแทสเซียม (K) 46% โพแทสเซียมช่วยในการสังเคราะห์แป้ง น้ำตาล และโปรตีน ส่งเสริมการเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปผล ช่วยให้ผลเจริญเติบโตเร็ว
-------------------
 
ข้อมูลจาก : เกร็ดความรู้คู่ปฐพี กรมวิชาการเกษตร
 
 
 
บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล
สารกำจัดศัตรูพืช ยาร้อน ยาเย็น ดูอย่างไร?