Toggle navigation
หน้าแรก
Home
(current)
สินค้า
Our Products
สินค้า
Our Products
ทุกหมวดหมู่
ปุ๋ยทางใบและทางดิน
ธาตุอาหารรอง-ธาตุอาหารเสริม
สารส่งเสริมการเจริญเติบโต
สารป้องกันและกำจัดโรคพืช
สารป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช
สารปรับปรุงสภาพดิน
สารจับใบและสารเคลือบผิว
สารกำจัดวัชพืช
นานาสาระ
MISCELLANEOUS
นานาสาระ
MISCELLANEOUS
ทุกหมวดหมู่
เทคนิคการผลิตพืชคุณภาพ
สาระน่ารู้
ข่าวสาร
เกี่ยวกับเรา
ABOUT US
ติดต่อเรา
Contact Us
CONTACT US
Top
โรคใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!
MISCELLANEOUS
โรคใบติดทุเรียน
สภาพอากาศที่แปรปรวนเดี๋ยวร้อน เดี๋ยวฝนในช่วงนี้ เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนขอให้เฝ้าระวังโรคราใบติดทุเรียน ภัยร้าย ทำลายพืช !!!
เชื้อสาเหตุโรค
Rhizoctonia solani Kuehn จะระบาดในช่วงสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง ราชนิดนี้สามารถเข้าทำลายพืชได้เกือบทุกส่วน ทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ตั้งแต่เมล็ด ราก ลำต้น ผล และใบ จึงทำให้เกิดความเสียหายแก่พืชเป็นอย่างมาก โรคนี้จะระบาดมากในช่วงฤดูฝน หรือในพื้นที่มีฝนตกชุกตลอดปีและมีความชื้นสูง
อาการของโรค
มักพบอาการบนใบอ่อนที่คลี่แล้ว แผลคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบ แผลจะขยายตัว และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาด และรูปร่างไม่แน่นอน ใบแห้ง ติดกันเป็นกระจุก
เชื้อราสามารถลุกลามไปยังใบอื่นๆ ที่ติดกันได้ โดยสร้างใยยึดใบให้ติดกัน และทำให้เกิดอาการใบไหม้ หรือใบที่เป็นโรคลุกลามจนแห้งและหลุดร่วงลงมาไปแตะหรือติดกับใบที่อยู่ข้างล่าง เชื้อราก็จะเข้าทำลายใบเหล่านั้น จนเกิดโรคลุกลามไปหลายๆ จุดในต้น ใบทุเรียนจะทยอยร่วง ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของต้นทุเรียน ทำให้ผลผลิตที่ออกมาไม่ดี ????
การป้องกันรักษา
✅ 1.หมั่นตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ ตัดแต่งกิ่งให้โปร่ง
✅ 2.หากพบโรค ให้ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลาย
✅ 3.ฉีดพ่นป้องกันสารป้องกันกำจัดเชื้อรา
อะตาร์ เอฟ
( คลอโรทาโลนิล(clorothalonil) 50% W/V SC + อะซอกซีสโตรบิน (azoxystrobin) 6% W/V SC)
อัตรา 10-20 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร หากพบการระบาดให้ฉีดพ่น 7-10 วัน/ครั้ง
บทความที่เกี่ยวข้อง
การใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย
อาการขาดธาตุอาหารของพืช
ข้อมูลแถบสีบนฉลากสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ข้อแตกต่างระหว่างหนอนผีเสื้อ VS หนอนแมลงวัน ชอนใบในมะเขือเทศ
โรคใบด่างจุดวงแหวนในมะละกอ
ผังแสดงตารางการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชบางชนิด
การระบาดของศัตรูพืชช่วงหน้าร้อน
น้ำตาลทางด่วน VS กรดอะมิโน
การปลูกพืชใช้ดินอะไรดี
โรคยอดฮิตในมะละกอ
แนวทางการทำเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
เพลี้ยไก่แจ้ส้ม และการป้องกัน
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลในช่วงแล้ง
โรคพืชที่มีสาเหตุมาจากไวรัสในพริก
การตรวจวิเคราะห์ดิน
มารู้จักกับหนอนชอนใบผีเสื้อมะเขือเทศ
โรคราแป้งในเงาะ
รู้ไหมว่าเชื้อ "บีที" คืออะไร
น้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของพืช
การดูแลผักในฤดูฝน
ทุเรียนเต่าเผา ทุเรียนไส้ซึม
แต่ละภาค...ปลูกอะไรดี?
โรคเมลาโนสในส้ม
การฉีดพ่นสารทางใบให้ถูกวิธี
การฝังเข็มรักษาโรครากเน่าโคนเน่าอย่างไรให้ได้ผล
เพลี้ยหอยในส้ม
เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน
โรคใบจุดสาหร่ายในทุเรียน
โรคใบจุดตากบในพริก
โครงการแก้มลิง
7 วิธีกำจัดหอยทากอย่างปลอดภัย
หนอนม้วนใบส้ม (Citrus leaf-roller)
5 เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับกระท่อม
การดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
ระวัง ไรขาวและโรคกุ้งแห้งระบาดในพริก
โรคกิ่งแห้งทุเรียน จากเชื้อฟิวซาเรียม
โรคราสีชมพูในทุเรียน
หนอนหน้าแมวศัตรูต้วร้ายปาล์มน้ำมัน
โรคเน่าคอดินในผักกินใบ
แมลงศัตรูพืชที่ระบาดในหน้าหนาว
โรคพืชที่ต้องระวังในฤดูหนาว
3 ตัวห้ำ แมลงดีในแปลงเกษตร
ธาตุรอง และ จุลธาตุ ธาตุอาหารสำคัญที่พืชขาดไม่ได้
แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในทุเรียน
โรคพืชในทุเรียน
ปลูกมังคุดต้องระวัง (โรคและแมลง) อะไรบ้าง
การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ
8 เทคนิคการจัดการปุ๋ย
มาทำความรู้จัก ปุ๋ยไนโตรเจนกันเถอะ
โรคและแมลงศัตรูพืชยอดฮิตในพริก
วิธีการดูทุเรียนสุก
โรคและแมลงศัตรูพืชที่พบบ่อยในผักตระกูลกะหล่ำ
การขาดธาตุแมงกานีสในทุเรียน
แมลงและโรคพืชที่ต้องระวังในส้ม
6 เรื่อง...ที่ต้องรู้ก่อนซื้อสารกำจัดศัตรูพืช
อาการ...ขาดธาตุโบรอน ในปาล์มน้ำมัน
อาการขาดธาตุสังกะสี
อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในปาล์มน้ำมัน
วิธีการฟื้นฟู และดูแลต้นไม้หลังน้ำลด
สีของดินบอกอะไรบ้าง?
4 หลักการใส่ปุ๋ยเคมีให้คุ้มค่า
มารู้จัก แมลงศัตรูพืช กันเถอะ
ประโยชน์ของธาตุแคลเซียมที่มีต่อพืช
การดูแล "ผักสลัด" ในหน้าร้อน ทั้งในและนอกโรงเรือน
5 แมลงศัตรูพืชที่สำคัญในส้ม
บำรุงดินด้วยวิธีธรรมชาติ เคล็ดดลับดูแลต้นไม้แบบประหยัด
ปัญหาพืชหน้าฝน โรครากเน่า โคนเน่า
โรคร้ายทำลายข้าว
อาหารทางใบฉีดพ่นยังไงให้ได้ผล
สารกำจัดศัตรูพืช ยาร้อน ยาเย็น ดูอย่างไร?
โรคพืชที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
โรคพืชในส้มที่ควรระวัง